1. Internet
2. Globalization
3. Knowledge Management
4. Collaboration Across “Boundaries” ความร่วมมือข้ามพรมแดน
การจัดการเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขัน ปัจจัยสำคัญ 4 ประการมีดังนี้
1.Innovation นวตกรรม
2.Quality คุณภาพ
3.Speed ความเร็วในการตอบสนอง
4.Cost competitiveness การมีต้นทุนที่แข่งขันได้
หน้าที่ในการจัดการ 4 ประการ มีดังนี้
1.Planning การวางแผน
2.Organizing การสร้างองค์การพลวัตร
3. Leading การนำ
4.Controlling การควบคุม
ระดับการจัดการ มีดังนี้
1.Top-level manager ผู้บริหารระดับสูง
2.Middle-level manager ผู้บริหารระดับกลาง
3.Frontline manager ผู้บริหารระดับต้น-ระดับปฏิบัติการ
4.Working leaders with broad responsibilities ผู้นำในการทำงาน
บทที่ 2 ปัจจัยแวดล้อมภายนอก
ปัจจัยแวดล้อมภายนอก มีดังนี้
- คู่แข่งรายใหม่
- คู่ค้า
- เพื่อนร่วมอาชีพ (คู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน)
- สินค้าทดแทน
- ค่านิยมทางสังคม
- กฎหมายและข้อบังคับ
- เศรษฐกิจ
- เทคโนโลยี
- จัดซื้อ
- ประเด็นทางสังคมและปัจจัยแวดล้อมทางธรรมชาติ
การแบ่งประเภทหรือจัดกลุ่มลูกค้า (คุณลักษณะด้านต่างๆของประชากร) มีดังนี้
- รายได้
- อาชีพ
- อายุ
- ขนาดครอบครัว
การวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้ม มีดังนี้
- ความไม่แน่นอนในปัจจัยแวดล้อม
- การปรับที่ Supply / demand
- การปรับที่กระบวนการผลิต
- การสอดส่องตรวจตราปัจจัยแวดล้อม
- การสร้างสถานการณ์จำลอง
- การคาดการณ์ล่วงหน้า
- การเปรียบเทียบกับผู้นำในอุตสาหกรรม
อิทธิพลที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม มีดังนี้
- ทำได้ด้วยตนเอง
- ทำได้ด้วยการร่วมมือกับผู้อื่น
การใช้แนวทางเชิงกลยุทธ์
- ผู้ริเริ่ม
- ผู้ป้องกัน
บทที่ 3 การตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร
คุณลักษณะของการตัดสินใจของผู้บริหาร มี 4 ประการ
1.ความเสี่ยง
2.ความไม่แน่นอน
3.ไม่มีโครงสร้างตายตัว
- การตัดสินใจที่กำหนดล่วงหน้าได้
- การตัดสินใจที่ไม่สามารถกำหนดล่วงหน้าได้
4.ความขัดแย้ง
ขั้นตอนการตัดสินใจ – ที่เป็นไปตามหลักการและเหตุผล มีดังนี้
- การระบุและการตรวจสอบปัญหา
- การสร้างทางเลือกเพื่อการแก้ปัญหา
- การประเมินทางเลือก
- คุณค่าหรือความครบถ้วนเพียงพอของทางเลือก
- ผลที่จะติดตามมาจากการดำเนินการตามทางเลือกนั้น
- แผนสำรอง
- การตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
- การตัดสินใจที่คาดว่าจะมีผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
- การตัดสินใจที่คาดว่าจะมีผลลัพธ์ที่พอจะยอมรับกันได้ถึงแม้ว่าจะไม่ดีหรือไม่สมบูรณ์
- การตัดสินใจที่คาดว่าจะมีผลลัพธ์ที่สมดุลในการบรรลุเป้าหมายหลายๆประการ
- การดำเนินงานตามทางเลือกที่ได้ตัดสินใจไว้แล้ว
- การประเมินผลของการตัดสินใจ
- อุปสรรคต่อประสิทธิผลของการตัดสินใจ
- อคติทางจิตติวิทยา
- การหลอกตนเองว่าควบคุมได้
- ผลกระทบจากการกำหนดกรอบของปัญหา
- ให้ความสำคัญแก่อนาคตน้อยเกินไป
- ข้อจำกัดด้านเวลา
- ความเป็นจริงทางสังคม – ที่กลายเป็นข้อจำกัด
- การตัดสินใจโดยกลุ่ม
- สไตล์ภาวะผู้นำ บทบาทของผู้นำที่เหมาะสม
- ความขัดแย้งที่สร้างสรรค์เป็นประโยชน์
- ความขัดแย้งที่เกิดจากมุมมองหรือวิจารณญาณที่แตกต่างกัน
- ความขัดแย้งทางอารมณ์ที่มีต่อผู้อื่น – ในเชิงลบ
- การส่งเสริมกระตุ้นให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- การสร้างสรรค์สิ่งใหม่
- การสังเคราะห์
- การขยาย , ปรับเปลี่ยน , ดัดแปลง
- การระดมสมอง
- ข้อจำกัดสำหรับผู้ตัดสินใจ
- การตัดสินใจขององค์การ
- ความมีเหตุผลการตัดสินใจภายใต้ขอบเขตจำกัด
- การตัดสินใจในเรื่องสำคัญเป็นผลจากการตัดสินใจในเรื่องเล็กๆ หลายๆ เรื่อง ปะติดปะต่อกัน
- การตัดสินใจเป็นผลลัพธ์ของการใช้อำนาจและการเจรจาต่อรองของกลุ่มต่างๆในองค์การ
- การตัดสินใจเป็นกระบวนการที่สับสนวุ่นวายไม่มีรูปแบบชัดเจน
- การเจรจาต่อรองและการเมืองในองค์การ
- การตัดสินใจภายใต้ภาวะวิกฤติ
- กลยุทธ์ที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
บทที่ 4 การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์
- ภาพรวมของหลักการวางแผน
- นิยาม
- กระบวนการวางแผน
- การวิเคราะห์สถานการณ์
- การกำหนดเป้าหมายและการวางแผน
- การประเมินเป้าหมายและแผนงาน
- การเลือกเป้าหมายและแผนงาน
- การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนงาน
- การติดตามความก้าวหน้าและการควบคุม
- ระดับการวางแผน
- การวางแผนกลยุทธ์
- เป้าหมายสำคัญ
- กลยุทธ์
- การวางแผนระดับหน่วยธุรกิจหรือระดับหน้าที่งาน
- การวางแผนปฏิบัติการ
- การวางแผนเชิงกลยุทธ์ อดีตและปัจจุบัน
- ความสามารถหลักเพื่อการแข่งขัน Core competence
- การเปรียบเทียบกับบริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมเดียวกัน Benchmarking
- การวิเคราะห์ SWOT และกำหนดกลยุทธ์
- กลยุทธ์ระดับบริษัท Corporate strategy
- กลยุทธ์ระดับธุรกิจ Business strategy
- กลยุทธ์ระดับหน้าที่งาน Functional strategy
- การควบคุมตามแผนกลยุทธ์
บทที่ 5 จริยธรรมและความรับผิดชอบขององค์การธุรกิจ
- จริยธรรม
- ประเด็นในทางจริยธรรม
- จริยธรรมทางธุรกิจ
- ระบบของจริยธรรม
- ปรัชญาที่เกี่ยวกับศีลธรรม
- แนวคิดที่เป็นสากล
- แนวคิดที่มุ่งเน้นผลลัพธ์สุดท้าย
- แนวคิดที่มุ่งประโยชน์ส่วนบุคคลให้มากที่สุด
- แนวคิดที่มุ่งประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ให้มากที่สุด
- แนวคิดที่มุ่งเน้นสิทธิตามข้อผูกพันของบุคคล
- แนวคิดเชิงสัมพันธ์ – พฤติกรรมทางจริยธรรมที่ถูกกำหนดหรือยอมรับโดยบุคคลที่ เกี่ยวข้องอื่นๆ ในสังคม
- ความถูกต้องทางศีลธรรมถูกกำหนดโดยกฎเกณฑ์ทางสังคม
- แนวคิดที่ว่าด้วยพัฒนาการทางจริยธรรมจองโคลเบิร์ก
- การตัดสินใจที่มีรางวัล – การลงโทษเป็นตัวกระตุ้น
- การกระทำตามที่สังคมคาดหวัง
- การกระทำตามหลักจริยธรรมที่ตนเห็นว่าดีงามเกินกว่าที่กฎหมายและปทัสถาน ของสังคมกำหนด
- สิ่งแวดล้อมทางจริยธรรม
- บรรยากาศทางจริยธรรมในองค์การ
- หลักจริยธรรมในองค์การ
- มาตรการทางจริยธรรม
- ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ
- ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ
- ความรับผิดชอบทางกฎหมาย
- ความรับผิดชอบทางจริยธรรม
- ความรับผิดชอบโดยสมัครใจ
- ระดับของความรับผิดชอบต่อสังคม
- มุมมองที่ขัดแย้งกัน
- มุมมองที่มุ่งกำไรสูงสุด
- มุมมองที่ยึดหลักการและเหตุผลทางศีลธรรม
- การผสมผสานแนวคิดทั้งสองข้างต้น
- การตอบสนองต่อสังคมขององค์การธุรกิจ
- การจัดการความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
- สิ่งแวดล้อมทางการเมือง
- ผลกระทบจากนโยบายของรัฐต่อความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน
- ความชอบธรรมของบริษัทในการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะ
- กลยุทธ์เพื่อการมีอิทธิพลโน้มน้าวสิ่งแวดล้อมทางการเมือง
- ตั้งหน่วยงานเพื่อติดตามกิจกรรมสาธารณะ
- การวิ่งเต้นองค์การที่ออกกฎหมายข้อบังคับ
- คณะกรรมการกิจกรรมทางการเมือง
- โครงการสร้างความสนับสนุนแก่บริษัทจากชุมชน
- การสร้างแนวร่วม
- การสร้างกำแพงหินป้องกัน / ต่อต้านหน่วงเหนี่ยวการออกกฎหมายข้อบังคับ
- การยอมถอยในเชิงกลยุทธ์เพื่อลดผลกระทบ
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
- ประเด็นทางสิ่งแวดล้อม
- สังคมที่มีความเสี่ยง
- การจัดการที่มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
- วาระด้านสิ่งแวดล้อมเพื่ออนาคต
บทที่ 6 การจัดการระหว่างประเทศ
- ปัจจัยแวดล้อมระดับโลก ประกอบดังนี้
- WTO องค์การการค้าโลก
- IMF องค์การการเงินระหว่างประเทศ
- EU สหภาพยุโรป
- APEC Pacific Rim
- NAFTA North America
- กลยุทธ์ของการทำธุรกิจในระดับโลก
- แรงกดดันเพื่อการรวมศูนย์ในระดับโลก
- ความต้องการที่เป็นสากล
- แรงกดดันเพื่อลดต้นทุน
- การประสานกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันในระดับโลก
- แรงกดดันเพื่อการตอบสนองต่อ แต่ละท้องถิ่น
- ความแตกต่างในรสนิยมและความชอบ
- ความแตกต่างในประเพณีที่ปฏิบัติ
- ความแตกต่างด้านช่องทางจัดจำหน่ายและหลักปฏิบัติในการขาย
- เงื่อนไขด้านเศรษฐกิจและการเมือง
- การเลือกกลยุทธ์การแข่งขันระดับโลก
- ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมแต่ละประเทศ (ยากสุด)
- ปรับรสชาติให้เหมาะสมกับประเทศนั้น ๆ
- ไม่ต้องปรับรสชาติ เพราะใช้เฉพาะกลุ่มเท่านั้น (ง่ายสุด)
- วิธีการเจาะตลาด
- การส่งออก
- การขายสิทธิในการผลิต Licensing
- การขายสิทธิในการจัดการ / การจัดจำหน่าย Franchising
- การร่วมทุนตั้งกิจการใหม่ Joint ventures
- การจัดตั้งสำนักงานสาขา
- การจัดการข้ามพรมแดน
- การจัดคนเข้าทำงานในสาขาต่างประเทศ
- บุคลากรจากบริษัทแม่
- บุคลากรท้องถิ่น
- บุคลากรจากประเทศที่สาม
- ทักษะของผู้จัดการธุรกิจข้ามพรมแดน
- สาเหตุของความล้มเหลวในการปฏิบัติงานในต่างประเทศ
- ความคล่องตัว
- ความเข้าใจวัฒนธรรมอื่นๆ
- ความมั่นคงในอารมณ์
- ทักษะการสื่อสาร
- จะป้องกันความล้มเหลวในการปฏิบัติงานต่างประเทศได้อย่างไร
- ความเข้าใจประเด็นทางวัฒนธรรม
- การปรับตัวของบุคลากรต่างประเทศในสหรัฐปละในทางกลับกัน
- ประเด็นทางจริยธรรมในการจัดการธุรกิจระดับนานาชาติ
- บทบาทของค่านิยมและหลักจริยธรรมในทางปฏิบัติ
บทที่ 7 การจัดตั้งธุรกิจใหม่
- ความเป็นผู้ประกอบการ
- ธุรกิจขนาดย่อม
- ธุรกิจใหม่ – ผลิตภัณฑ์ใหม่ – กลยุทธ์ใหม่
- ที่มาของธุรกิจใหม่
- ผู้ประกอบการอิสระ
- พนักงานที่ริเริ่มธุรกิจใหม่ในบริษัท
- ทำไมต้องเป็นผู้ประกอบการอิสระ
- บทบาทของปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
- ที่บ่มเพาะธุรกิจรายใหม่
- ควรจะเริ่มธุรกิจอะไร
- จะหาโอกาสได้อย่างไร
- ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
- กลยุทธ์สู่ความสำเร็จของธุรกิจใหม่
- ภยันตรายสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจใหม่
- การก้าวสู่โลกธุรกิจระดับโลก
- ความเป็นผู้ประกอบการภายใน
- หาความสนับสนุนความคิดใหม่ๆ
- สร้างตนเองให้เป็นผู้ประกอบการ
- ธุรกิจที่ริเริ่มขึ้นใหม่
- ธุรกิจที่เป็นความลับ
- การจัดตั้งหน่วยงานสำหรับธุรกิจใหม่
- ภยันตรายสำหรับความเป็นผู้ประกอบการภายใน
- การปรับตัวขององค์การเพื่อส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการ
- การส่งเสริมกิจกรรมโดยอิสระ
- ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ยอมรับความเสี่ยง
- คาดการณ์และตอบสนองความต้องการโดยไม่ต้องร้องขอ
- เผชิญกับการแข่งขันอย่างจริงจัง
บทที่ 8 โครงสร้างองค์การ
- พื้นฐานของการจัดการองค์การ
- แผนภูมิโครงสร้างองค์การ
- ความแตกต่าง
- ความแตกต่างในแนวดิ่ง
- ความแตกต่างในแนวนอน
- การรวมตัว
- โครงสร้างตามแนวดิ่ง
- บรรษัทภิบาล
- อำนาจตามสายการบังคับบัญชา
- ลำดับชั้นของการบังคับบัญชา
- ช่วงของการควบคุม
- การมอบหมายอำนาจหน้าที่
- ความรู้สึกรับผิดชอบที่มีต่อภาระงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความคาดหวังที่พนักงานจะต้องปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย , แก้ปัญหา และรายงานให้ทราบความก้าวหน้า
- การกระจายอำนาจ
- โครงสร้างตามแนวนอน
- การแบ่งแผนกงาน
- แผนกงานในสายงานหลัก
- แผนกงานในสายงานสนับสนุน
- การจัดหน่วยงานตามหน้าที่
- การจัดหน่วยงานตามลักษณะธุรกิจ
- การจัดหน่วยงานตามผลิตภัณฑ์
- การจัดหน่วยงานตามกลุ่มลูกค้า
- การจัดหน่วยงานแบบแมทริกซ์
- การร่วมประสานภายในองค์การ
- การประสานโดยการสร้างมาตรฐาน
- การสร้างมาตรฐาน
- การทำให้เป็นทางการ
บทที่ 9 องค์การที่ไวต่อการตอบสนอง
- ความจำเป็นในยุคปัจจุบัน
- โครงสร้างแบบจักรกล
- โครงสร้างที่มีชีวิต
- การจัดองค์การที่มีขนาดเหมาะสม
- โครงสร้างขนาดใหญ่
- โครงสร้างขนาดเล็ก
- การปรับลดขนาดองค์การให้เล็กลง
- การจัดองค์การเพื่อการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
- การจัดองค์การให้ตอบสนองลูกค้า
- CRM
- TQM
- ISO
- Reengineering
- การจัดองค์การเพื่อการตอบสนองต่อเทคโนโลยี่
- ชนิดของเทคโนโลยี่
- การจัดองค์การเพื่อการผลิตที่คล่องตัว
- การจัดองค์การเพื่อความรวดเร็วในการแข่งขัน
- การผลิตแบบทันเวลา JIT
- การจัดองค์การเพื่อการตอบสนองเชิงกลยุทธ์
- การจัดองค์การตามความสามารถหลัก
- องค์การเครือข่าย
- พันธมิตรเชิงกลยุทธ์
- องค์การแห่งการเรียนรู้
- องค์การแห่งการผูกพันร่วมกัน
วิชา BM601 การจัดการและพฤติกรรมองค์การ ( Management Organizational Behavior )
โปรดอธิบายความหมายของ คำว่า “การจัดการทรัพยากรมนุษย์” ตามความเข้าใจของท่าน ?
- การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ เป็นกระบวนการทางความคิด ต้องคาดการณ์ล่วงหน้าเป็นการวางแผนกลยุทธ์ โดยมองปัจจัยแวดล้อม แล้วนำมาใช้วางแผนคน เพื่อจะได้พนักงานในจำนวนที่เหมาะสม ตรงตามสาขาที่ต้องการ สอดคล้องกับเวลาและทำงานได้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
- การจัดหาบุคคลเข้าทำงาน : การสรรหา และการคัดเลือก
การสรรหาจากภายใน มีหลักการดังนี้
- โดยดูจากตำแหน่งหน้าที่งานที่รับผิดชอบ
- วุฒิการศึกษา
- สาขาที่จบ
- ประสบการณ์ทำงาน
- อายุงาน
- มีการทดสอบความรู้เฉพาะทาง
- อัตราเงินเดือน
- การผ่านการอบรมหลักสูตรต่างๆ
- การบริหารงาน
- การเปิดรับสมัครภายใน
การสรรหาจากภายนอก มีหลักการดังนี้
- กำหนดวุฒิการศึกษา เช่น ปริญญาโท
- การใช้ภาษาต่างประเทศ ฟัง พูด อ่าน เขียน
- การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
- อัตราเงินเดือน
- ประสบการณ์
- ลักษณะงานที่ต้องรับผิดชอบ
การคัดเลือก
- ตั้งคณะกรรมการในการคัดสรร
- ดูจากประวัติในใบสมัครงาน
- ขอบเขตงานที่รับผิดชอบอยู่ในปัจจุบัน
- แนวความคิดในการตอบปัญหา พร้อมทั้งแนวทางแก้ไขปัญหา
- ทดสอบไหวพริบในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า, ฉลาด, รู้จักคิด, รู้จักใช้เหตุผล
- ทดสอบรูปร่าง , ท่าทาง , บุคลิกภาพ , การพูดจา
- ตรวจสอบการใช้ข้อมูลอ้างอิงบุคคลที่รู้จัก
- การทดสอบความรู้ในปฏิบัติงาน
- การฝึกอบรมเพิ่มทักษะแก่พนักงาน
- การอบรมให้มีความรู้ในระเบียบข้อบังคับของบริษัท
- การอบรมการใช้งานเครื่องจักรต่างๆ
- การอบรมให้ความรู้เรื่องการทำงานเป็นทีม
- การพัฒนาบุคคลกรในเรื่องต่างๆ เพื่อจะได้มีโอกาสเลื่อนตำแหน่ง
- การประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การบริหารทีมงาน
- การประสานงาน
- การแนะนำงานแก่เพื่อนร่วมงาน
- มีการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน
- การบริหารค่าตอบแทน
- ระบบของสิ่งจูงใจและค่าตอบแทนที่ไม่คงที่ เช่น เงินรางวัล
- เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
- การเบิกค่ารักษาพยาบาล
- การประกันภัย
- ค่าชดเชย
- ประกันสังคม
- การพัฒนาอาชีพ คือ ความก้าวหน้าหรือการเติบโตของผู้ปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาของการประกอบอาชีพ มี 4 ขั้นดังนี้
1.การสำรวจและการทดลอง เช่น การให้ความรู้เรื่องต่างๆ
2.การก่อตั้งและความก้าวหน้า เช่น การใช้ความรู้ในการพัฒนาทีมงาน
3.ความสำเร็จในงานอาชีพระดับกึ่งกลาง เช่น การทำงานผลงานดีเลิศเลื่อนตำแหน่ง
4.การสิ้นสุดการทำงาน เช่น การเกษียณอายุการทำงาน , เงินรางวัลพิเศษ
โปรดระบุกิจกรรมสำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ท่านเห็นว่าสำคัญที่สุดมา 3 ประการและอธิบายว่ากิจกรรมเหล่านี้แต่ละกิจกรรมมีความสำคัญอย่างไรต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรของท่าน ?
- การพัฒนาให้ความรู้
- อัตราค่าจ้าง
- สวัสดิการต่างๆ
ท่านจะนำแนวความคิดเรื่อง “ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม” ( Cultural Diversity )มาใช้ประโยชน์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างไร ?
- พฤติกรรมของคนที่มีความหลากหลายมีตัวแปร 3 กลุ่มดังนี้
1.ภูมิหลังพื้นฐาน ประกอบด้วย การศึกษา , สภาพแวดล้อม , พื้นเพเดิม , สังคมรอบข้าง
2.สิ่งที่อยู่ภายใน ประกอบด้วย แนวความคิด , ทัศนคติ , ความเชื่อ , ค่านิยม , นิสัยใจคอ
3.ลักษณะภายนอก ประกอบด้วย เพศ , อายุ , รูปร่าง , หน้าตา , รายได้
- ภาวะผู้นำและความผูกพัน
- การประเมินนโยบายและการปฏิบัติขององค์การตลอดเวลา
- การดึงดูดความสนใจของพนักงานด้วยกิจกรรมต่างๆ
- การฝึกอบรม เพื่อลดความอคติและการยอมรับความหลากหลาย
- การดูแลรักษาบุคลากรให้จงรักภักดีต่อองค์การและอยู่กับองค์การนานๆ
ภาวะผู้นำ
โปรดอธิบาย “ภาวะผู้นำ” และความสำคัญของภาวะผู้นำต่อการบริหารองค์กร ?
- อำนาจตามกฎหมาย
- อำนาจที่เกิดจากการให้รางวัล
- อำนาจในการลงโทษ
- อำนาจที่เกิดจากการอ้างอิง
- อำนาจที่เกิดจากความเชียวชาญ
โปรดยกตัวอย่างแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำมา 2 แนวคิด และ อธิบายเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างในสาระสำคัญ ?
- ผู้นำแบบเผด็จการ
- ผู้นำแบบประชาธิปไตย
- ผู้นำแบบบงการ
- ผู้นำแบบให้การสนับสนุน
- ผู้นำแบบมีส่วนร่วม
- ผู้นำแบบมุ่งผลสำเร็จ
“ผู้นำ” และ “ผู้จัดการ” แตกต่างกันอย่างไรในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการบริหารองค์กร ?
- ผู้นำ กำหนดนโยบาย
- ผู้จัดการ สั่งการ
ผู้ตามมีความสำคัญอย่างไร ? ผู้ตามที่ดีมีบทบาทอย่างไรในการจัดการยุคใหม่ ?
เวลานี้ท่านคิดว่าท่าน คือ “ผู้นำ” หรือ “ผู้ตาม” ทำไมท่านจึงคิดเช่นนั้น มีปัจจัยประการใดบ้างทีมีผลต่อการกำหนดบทบาทของท่าน ?
การจัดการความรู้ หรือ KM : Knowledge Management
-
*การจัดการความรู้ หรือ KM : Knowledge Management* คือ
การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร
ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ
เพ...
4 ปีที่ผ่านมา
0 Responses to "การจัดการยุคใหม่ ปัจจัยสำคัญ 4 ประการในการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันมีดังนี้":
แสดงความคิดเห็น