องค์ประกอบของแผนกลยุทธ์ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
การวางแผนกลยุทธ์
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
ความสำคัญของการตลาด
ระบบเศรษฐกิจทั้งระบบ การสร้างความต้องการและการสนองความต้องการในการบริโภค ผลิตภัณฑ์ทำให้เกิดการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ คือเกิดการจ้างงาน เกิดรายได้ เกิดการบริโภค และเกิดการใช้แรงงาน ซึ่งจะมีการพึ่งพากันและเชื่อมโยงไหลเวียนตามลำดับอย่างเป็นระบบ ผลจะทำให้การดำรงชีวิต ของมนุษยชาติในสังคมอยู่ในระดับที่มีการกินดีอยู่ดี มีความเป็นอยู่ อย่างเป็นสุขโดยทั่วกัน
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
ผู้ถือ หุ้นสามัญ
มีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ มีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ
- บริษัทจะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเมื่อมีกำไร
- ถ้าผู้ถือหุ้นสามัญขายหุ้นได้ราคาสูงกว่าราคาที่ซื้อมา เรียกว่า กำไรส่วนทุน (capital gain) ถ้าขายได้ต่ำกว่าเรียก capital loss
สัญลักษณ์ที่สำคัญ
D0 = เงินปันผลปีปัจจุบันDt = เงินปันผลที่คาดว่าจะได้รับในปี t
P0 = ราคาตลาดของหุ้นสามัญในปัจจุบัน
P^t = ราคาตลาดของหุ้นสามัญที่คาดไว้ปลายปี t
P^0 = ราคาหุ้นสามัญที่ควรจะเป็น หรือราคาตามทฤษฎี
P0 = P^0 ถ้าตลาดอยู่ในดุลยภาพ
g = อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินปันผลที่คาดไว้
kS = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ
K^S = อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
ḱS = อัตราผลตอบแทนที่ได้รับจริง
ข้อควรจำ
D0 = เงินปันผลปัจจุบัน (ได้รับไปแล้ว) D1 = เงินปันผลสิ้นปีปัจจุบัน (ยังไม่ได้รับ)
ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากหุ้นสามัญ
ผลตอบแทนจากหุ้นสามัญ = เงินปันผล + กำไรจากราคาหุ้นK^S=D1/P0 + (P^1 - P^0)/P^0
D1/P0 = อัตราเงินปันผลที่คาดว่าจะได้รับในปีถัดไป (P^1 - P^0)/P^0 = อัตรากำไรที่คาดว่าจะได้รับจากการขายหุ้นสามัญในปีถัดไป
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญโดยใช้เงินปันผลเป็นเกณฑ์
เป็นการประเมินราคาหุ้นสามัญโดยสมมติว่าผู้ลงทุนซื้อหุ้นแล้วถือไว้ตลอดไปเพื่อรับเงินปันผลดังนั้น มูลค่าหุ้น จึงเท่ากับมูลค่าปัจจุบันของเงินปันผลทั้งหมดที่ได้รับในอนาคต
มูลค่าหุ้นปัจจุบัน | มูลค่าปัจจุบันของ เงินปันผลปีที่ 1 |
มูลค่าปัจจุบันของ เงินปันผลปีที่ 2 |
มูลค่าปัจจุบันของ เงินปันผลปีที่ 3 |
มูลค่าปัจจุบันของ เงินปันผลปีที่ infinity | |
---|---|---|---|---|---|
P0 | D1/(1+kS)1 | + D2/(1+kS)2 | + D3/(1+kS)3 | ... | + D8/(1+kS)8 |
มูลค่าหุ้นสามัญตามทฤษฎี กรณีที่อัตราเงินปันผลเพิ่มขึ้นคงที่
- สูตรสำคัญ
P^0 = D0(1+g)/(kS -g)
P^0 = D1/(kS -g)ถ้าเงินปันผลเท่ากันทุกๆปี (g=0)
P^0 = D0(1+0)/(kS -0) = D/kS
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
การจัดหาเงินทุนสำหรับสินทรัพย์หมุนเวียน
นโยบายการจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน
- Permanent Current Asset สินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำที่ธุรกิจมีไว้เพื่อการดำเนินงานตามปกติ
- Temporary Current Asset สินทรัพย์หมุนเวียนที่ต้องการเพิ่มขึ้นเป็นการชั่วคราวเพื่อยอดขายที่เพิ่มขึ้น
ธุรกิจเลือกใช้นโยบายสินทรัพย์หมุนเวียนได้ 3 แบบ
1. Maturity Matching (Self Liquidating Approach) มีหนี้สินหมุนเวียนตามสถานการณ์ 2. Relatively Aggressive Approach' มีส่วนของเจ้าของและหนี้สินระยะยาวน้อย ทำให้มีหนี้สินหมุนเวียนมาก 3. Conservative Approach มีส่วนของเจ้าของและหนี้สินระยะยาวมาก ทำให้มีหนี้สินหมุนเวียนที่ต้องการเพิ่มขึ้นน้อยเงินลงทุนระยะสั้น
ข้อดี- ใช้เวลาในการกู้น้อยกว่า
- มีความยืดหยุ่นมากกว่า เหมาะกับความต้องการลงทุนตามฤดูกาล
- ต้นทุนของหนีสินระยะสั้นต่ในภาวะปกติต่ำกว่าระยะยาว
- มีความเสี่ยงมากกว่า
- อัตราดอกเบี้ยผันผวน
- ถ้าเศรษฐกิจตกต่ำจะไม่สามารถชำระหนี้ได้
แหล่งเงินทุนระยะสั้น
- ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
- เจ้าหนี้การค้า
- เงินกู้จากธนาคาร
- ตราสารพานิชย์
- เงินกู้ที่มีหลักประกัน
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
- ไม่มีต้นทุน
- ไม่มีดอกเบี้ย
เจ้าหนี้การค้า หรือเครดิตทางการค้า
- เครดิต (สินเชื่อ) ที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการเป็นเงินเชื่อ
- เป็นแหล่งเงินทุนระยะสั้นที่ใหญ่แหล่งหนึ่ง โดยเฉพาะกิจการขนาดเล็ก
- เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ ไม่ยุ่งยากแต่มีต้นทุนสูง
นาย ก ซื้อสินค้าถัวเฉลี่ยวันละ 2000 บาท
ผู้ขายให้เครดิต 10 วัน
แหล่งเงินทุนของนาย ก ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติจากเครดิตทางการค้า = 2000x10 = 20,000 บาท
ต้นทุนของเครดิตทางการค้า
ตัวอย่าง A&B ซื้อสินค้า 30,000 บาท เงื่อนไขการขาย 2/10,net 30ราคาที่กำหนด = ราคาจริง + Finance Charge
30,000 = 29,400 + 600
100% = 98% + 2%
ระยะเวลา 20 วัน = ผลประโยชน์ที่สูญเวียไป/ราคาจริง = 2/98
ระยะเวลา 1 ปี = 2/98 x 365/20
อัตรา Finance Charge = 37.2%
จำนวนรอบ = 365/20 = 18.25 EFF = (1.0204)^18.25-1 = 44.6%
เงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร
- เป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญ แต่ไม่สามารถเกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ
- ต้นทุนของการกูขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของการกู้
การกู้เงินแบบ FLAT RATE
- ดอกเบี้ย 12% ผ่อนชำระเงินต้นรวมดอกเบี้ยเป็นงวดทุกเดือน
- ดอกเบี้ยจ่าย = 0.12(10,000) = 1,200 บาท
- รวมเงินต้นและดอกเบี้ย = 10,000+1,200 = 11,200 บาท
- ผ่อนชำระเดือนละ 11,200/12 = 933.33 บาท
PV = 10,000;
PMT = 933.33;
FV = 0;
N=12;
CPT; I=1.788%
EFF = 1.01788^12-1 = ประมาณ 24%
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
การเช่า
การเช่าหมายถึงผู้ให้เช่าสินทรัพย์ยินยอมให้ผู้เช่าสินทรัพย์มีสิทธิ์ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ตามที่ทำสัญญาไว้
ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยได้รับค่าเช่าเป็นการตอบแทน
ประเภทของการเช่า
- ขายและเช่ากลับคืนมา (Sales and Leaseback)
- การเช่าเพื่อใช้ในการดำเนินงาน (Operating Lease)
- การเช่าเพื่อได้รับกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ (Capital Lease)
ข้อแตกต่างของ Operating Lease และ Capital Lease
Capital Lease | Operating Lease | |
---|---|---|
ค่าบำรุงรักษา | ผู้เช่าต้องจ่ายเอง | ผู้ให้เช่ารับผิดชอบ |
บอกเลิกสัญญาก่อนกำหนด | ไม่ได้ | ได้ |
กรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ | เปิดโอกาสให้มีกรรมสิทธิ์ | ไม่ได้ |
การประเมินการเช่นโดยผู้เช่า
- วิเคราะห์จากกระแสเงินสดของกรณีที่เช่า กับซื้อด้วยเงินสด
- วิธีการจัดหาเงินทุน
- ประมาณมูลค่าซากของสินทรัพย์
- นำต้นทุนของการเช่า (NPV) มาเปรียบเทียบกัน
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
ใบสำคัญแสดงสิทธิ์ในการซ้ำหุ้นสามัญ(Warrant)
Warrant
คือใบสำคัญแสดงสทธิ์ซื้อหุ้นสามัญ ผู้ถือ Warrant
มีสิทธิ์ซื้อหุ้นสามัญในเวลาและราคาที่กำหนด
- บริษัทจะออกใบสำคัญแสดงสิทธิ์ให้ผู้ซื้อหลักทรัพย์ประเภทหนี้สิน เพื่อเป็นการจูงใจผู้ลงทุน ให้ยินดีลงทุนโดยได้รับอัตราดอกเบี้ยต่ำ แต่มีโอกาสได้รับเงินปันผลจากการเจริญเติบโตของบริษัทในอนาคต
ตัวอย่างการคำนวณมูลค่า Warant
หุ้นกู้ธรรมดาในตลาดที่ออกจำหน่ายอัตราดอกเบี้ย 6.10 % ต่อปี แต่บริษัท ต้องการจะออกหุ้นกู้ พร้อมใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ ( Warrant ) 10 ฉบับ ในราคา 1,000.- บาท อายุหุ้นกู้ 4 ปี อัตราดอกเบี้ย 4.25 % ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยปีละหนึ่งครั้ง ให้คำนวณต้นทุนของหุ้นกู้ และ ใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) ว่ามีมูลค่าฉบับละเท่าไหร่วิธีคิด
หามูลค่าพันธบัตร
FV=1,000;
N=4;
I/Y=6.10;
PMT=1000*0.0425;
CPT; PV= -789.26;
หุ้นกู้ราคา 789.26;
Warrant 10 ฉบับ ราคา 1000-798.26=201.74 บาท
Warrant ฉบับละ 201.74/10 = 20.174 บาท
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
ทฤษฎีเงินปันผล
ผู้ลงทุนชอบเงินปันผลสูงหรือต่ำ มี 3 ทฤษฎี
1. Dividend Irrelevance -
ผู้ลงทุนไม่สนใจว่าจะมีเงินปันผลหรือไม่ เพราะหากต้องการเงินก็ขายหุ้นได้
หากไม่ต้องการเงินปันผล ก็นำเงินปันผลมาลงทุนใหม่ได้
มูลค่าของกิจการจะถูกกำหนดโดยความสามารถในการทำกำไรและความเสี่ยงทางธุรกิจ
2.
Bird-in-the-hand - ผู้ลงทุนคิดว่า เงินปันผล
มีความเสี่ยงน้อยกว่ากำไรที่จะได้รับในอนาคต จึงชอบเงินปันผลในอัตราสูง
ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นสามัญสูงด้วย
3. Tax Preference -
ผู้ลงทุนคิดว่ากำไรส่วนทุนมีภาษีต่ำกว่าเงินปันผล และเป็นเงินที่จ่ายในอนาคต
จึงต้องการให้ปันผลน้อยๆ
ทฤษฎีอื่นๆ 2 ทฤษฎี
4.
ข้อมูลข่าวสารหรือสัญญาณ - ทฤษฎีนี้อธิบายว่า ควรจ่ายเงินปันผลสม่ำเสมอ
ไม่เพิ่มไม่ลด เพื่อไม่ให้มีสัญญาณเกี่ยวกับแนวโน้มของบริษัทเผยแพร่ออกไป
5.
Clientele Effect - หมายถึง
แนวโน้มที่บริษัทต้องดึงดูดผู้ลงทุนโดยกำหนดนโยบายเงินปันผลที่ผู้ลงทุนพอใจ
ผู้ลงทุนที่ต้องการรายได้ประจำจะต้องการเงินปันผลสูง
0 ความคิดเห็น Filed Under: | Continue>>>
บทความที่ได้รับความนิยม
-
Knowles (1975, pp. 14-17) กล่าวถึง การเรียนรู้ด้วยตนเองว่ามีความสำคัญ 4 ประการ คือ 1. บุคคลที่เรียนรู้ด้วยการริเริ่มของตนจะเรียนได...
-
ข้อมูลบริษัท บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จำกัด เป็นบริษัทร่วมทุนการค้าระหว่าง ฮอนด้ามอเตอร์ ประเทศญี่ปุ่น กับบริษัท พี ไทยแลนด์ จำกัด ดำเนินธุรกิจ...
-
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ จึงมีความสำคัญมากในการกำหนดกลยุทธ์ด้วยเหตุผล 4 ประการคือ ประการแรก สภาพแวดล้อมเป็นทั...
-
การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร (SWOT) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กรทางการศึกษา เพื่อศึกษาแนวโน้มการพัฒนาการศึกษา...
-
1. องค์กรแบบปฐม (Primary Organization) เป็นองค์กรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยสมาชิอกขององค์กรมีความสนิทสนมคุ้นเคยกันดี และรูปแบบของความสัมพั...