โครงสร้างองค์การมี 2 ประเภทดังนี้
1. โครงสร้างแบบจักรกล( Mechanistic Structures) – มุ่งเน้นประสิทธิภาพภายในองค์การสูงสุด
2. โครงสร้างแบบมีชีวิต( Organic Structures) – เน้นความยืดหยุ่น
องค์ประกอบของโครงสร้างแบบมีชีวิต
- มีการทำงานเป็นทีมมากกว่าเป็นกลุ่มอยู่ภายใต้การควบคุม
- หลีกเลี่ยงการทำงานแบบเป็นทางการ
- ตอบสนองความต้องการที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการแข่งขันและสภาพตลาดที่แท้จริง
- มีการกระจายอำนาจและมีความยืดหยุ่นมากชึ้น
- ต้องมีความรู้ ความชำนาญระดับสูง
- มีความเชื่อถือและให้การยอมรับในการตัดสินใจ
- การมีส่วนร่วมในเป้าหมายขององค์การ และมีจิตใต้สำนึกเดียวกัน
- มีความสัมพันธ์ระหว่างระดับบนกับระดับล่าง
Downsizing – การปรับลดขนาดขององค์การ เนื่องจากองค์การมีขนาดใหญ่เกินไป การลดเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การทำให้ตอบสนองต่อลูกค้าได้เร็วขึ้น
Rightsizing – การทำให้องค์การมีขนาดที่เหมาะสม เพื่อให้องค์การประสบความสำร็จและมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
มากที่สุด
Survivor’s syndrome – ลักษณะอาการของพนักงานที่อยู่รอดหลังการลดขนาด คือทำให้เกิกการสูญเสียศักยภาพและกำลังใจ
ในการทำงาน ก่อให้เกิดความเห็นแก่ตัวและปฏิเสธความเสี่ยง
Organizing For Environmental Response – การจัดองค์การเพื่ออตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
นอกจากการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมแล้วองค์การยังต้องเน้นการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า โดยผู้บริหารต้อง1.สร้างความสมดุลให้เกิดตาม Strategic Triangle
Organizing For Environmental Response – การจัดองค์การเพื่ออตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
นอกจากการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมแล้วองค์การยังต้องเน้นการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า โดยผู้บริหารต้อง1.สร้างความสมดุลให้เกิดตาม Strategic Triangle
การจัดการองค์การเพื่อการผลิตที่คล่องตัว
Flexible Factories: มีความหยืดหยุ่นในการผลิต ช่วงการผลิตสั้นกว่าและผลิตสินค้าได้หลากหลาย
Lean Manufacturing: ตัดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นในกระบวนการผลิตออกไปและพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นการลดของเสีย
ลดเวลาที่ไม่จำเป็นลงทำให้ขั้นตอนการผลิตเร็วขึ้น
Just-In-Time (JIT) เป็นระบบการส่งสินค้าให้ทันเวลาพอดี ช่วยในเรื่องการลดสินค้าคงคลัง ลดต้นทุนการผลิต
Dynamic Network (เครือข่ายแบบพลวัต) - การจัดองค์การตามความสามารถหลัก
เป็นเครือข่ายที่มีการดำเนินการชั่วคราวระหว่างหุ้นส่วนที่สามารถจะร่วมกันปรับเปลี่ยนธุรกิจให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม
- เพิ่มความยืดหยุ่น ,มีนวัตกรรมและ ตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว
- ลดต้นทุนและความเสี่ยงต่างๆ
- ผู้จัดการทำหน้าที่เป็นตัวแทน โดยแสดงหลายบทบาท
องค์การแบบเรียนรู้ (The learning organization) – องค์การต้องมีความรู้และความสามรถในการถ่ายทอดความรู้ โดยมี
ลักษณะดังนี้
- พนักงานมีวินัยในการคิดและใส่ใจในรายละเอียด
- มีการค้นหาความรู้ใหม่เสมอ
- มีความระมัดระวังในการทบทวนความสำเร็จ และความล้มเหลว
- มีมาตรฐานและการทำงานที่ดี
- มีการนำเสนอความคิดใหม่ๆให้กับองค์การ
High-involvement Organization - องค์การแห่งการผูกพันร่วมกัน
- ผู้บรหารระดับสูงจะต้องมีความเชื่อมั่นว่าพนักงานในองค์การเห็นพ้องกับทิศทางธุกิจขององค์การ
- มีโครงสร้างองค์การแบบแนวนอน ,มีกระจายอำนาจ และสร้างสภาวะแวดล้อมด้วยลูกน้อง สินค้า และบริการ
- พนักงานจะต้องมีความผูกพันร่วมกัน
การจัดการความรู้ หรือ KM : Knowledge Management
-
*การจัดการความรู้ หรือ KM : Knowledge Management* คือ
การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร
ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ
เพ...
4 ปีที่ผ่านมา
0 Responses to "The Responsive Organization(การตอบสนองขององค์การ)":
แสดงความคิดเห็น